16/12/53

วันที่ปีกเปลี่ยนสี

                       Eupatorus siamensis male short horn
17-11-2010
4-12-2010
7-12-2010
9-12-2010
 13-12-2010

 14-12-2010

14-12-2010 11:24
11:25

11:31
11:36
11:45
11:51
12:03
12:44
13:24
14:21
14:42

15-12-2O1O
สรุปรวมใช้เวลาเข้าดักแด้ ราวๆ 40 วัน ครับ ตอนนี้ก็กำลังรอตัวเมียอยู่ว่าจะใช้เวลากี่วันในการเข้าดักแด้

9/12/53

Dyanastes hyllus ถอดสีแล้ว

ในที่สุดสีที่แท้จริงก้ได้ออกมาให้เห็นกันแล้วครับ แต่หลังจากที่ถ่ายรูปได้ 3 วัน เค้าก้จากไปอย่างสงบ โดยได้ทิ้งทายาทไว้จำนวนหนึ่ง
                                    ทายาทที่ทิ้งไว้จำนวนหนึ่ง แต่ยังไม่ที่ไม่ฟักออกจากไข่อีก
                                                          Dyanastes hyllus larve 1


                                                           Dynastes hyllus larve 2

ดักแด้ Eupatorus siamensis นอกฤดู

ในที่สุกหลังจากเลี้ยงหนอน แอล 2 มาจนถึงแอล 3 ร่วม 6-8 เดือน ก็เข้าดักแด้ แต่เป็นเพียงตัวผู้เขาสั้น
Eupatorus siamensis Pupa Male Short horn

                                                   Eupatorus siamensis Pupa Female
                                              และนี่คือไข่ของรุ่นที่เพาะได้ในปีนี้ครับ

27/10/53

การจับกว่างชนแบบฉบับของผม (อาจมึนหน่อยนะครับ)

ดูตามคลิปเลยครับผมถ่ายมาจากจังหวัดปราจีนบุรี บ้านผมเอง

Platynocephalus arnaudi

ด้วงดอกไม้มังกรเขาเคียว ว่าจะลองเพาะเองสักคู่ แต่มิรู้ว่าจะมีให้เพาะมั้ย เพราะมีคนจองหมดแล้ว

                                                    
 Platynocephalus arnaudi   male


Platynocephalus arnaudi  female

หนอน Dynastes hyllus

ไม่แน่ใจนะครับว่าเป็นตัวแรกที่เกิดในไทยรึป่าว รอมานาน ราวๆ 1 เดือน ในที่สุดก็ฟักซะที
                                                Dynastes hyllus larve 1  25-10-2010
ปัญหาที่เจอในการเพาะขั้นแรกคือ ไข่จะฝ่อง่ายมากครับ แต่ตอนนี้ผมเองก้ได้กำลังหาวิธีแก้ไขอยุ่ และ ก็กำลังรอไข่ที่จะฟักออกมาตามๆกันแน่ๆ อีก 7-8 ฟอง

12/10/53

Eupatorus siamensis

นี่เป็นกว่างซางอีกหนึ่งชนิดที่ผมอยากจะลองเพาะในปีนี้ ตอนนี้ก็ได้มาแล้ว ไม่กี่คู่ครับ

                                                  Eupatorus siamensis male 70 mm

ถึงเวลาชั่งน้ำหนักหนอน

หนอนของ Trypaxylus dichotomus หรือ กว่างญี่ปุ่นดำ เมื่อเทียบกับมือผมเอง
ตัวที่ 1

                                              น้ำหนัก 40 กรัม ครับ

                                                                   ตัวที่ 2


                                                                 น้ำหนัก 35 กรัม


เหลือเวลาอีกราวๆ 3-4 เดือนก็จะเข้าดักแด้แล้วครับ ทีนี้ก็รอดูต่อไปว่าตัวเต็มวัยจะออกมาขนาดเท่าไหร่
             

                         

                                 หนอน Megasoma elephus ผมเองบังเอิญได้มาเลี้ยง 1 คู่ ครับ นี่เป็นตัวผู้ขออภัยที่มิได้ชั่งตัวเมียมาให้ดูนะครับ

                                                        น้ำหนัก 70 กรัม ครับ


                                       ต่อด้วยน้ำหนักของหนอน Dynates hercules hercules
                                                                             
                                        น้ำหนักประมาณ 65 กรัม ตัวนี้เป้นตัวที่น้ำหนักขึ้นยากครับ ตอนนี้ก็เข้าแอล 3 มาจะครบ 1ปีแล้ว เหลือเวลาอีกไม่มากที่จะพัมนาน้ำหนักกันต่อไป

                                     ไปกันต่อที่หนอนของ Prosopocoilus buddha ระยะ แอล 3




                                       มีแอล 1 ด้วยครับ เนื่องจากตัวแม่เค้ายังไข่อยู่เรื่อยๆครับ                                      

มาปิดท้ายกันด้วงน้องใหม่พึ่งฟักประจำเดือนนี้นะครับ
Eupatorus birmanicus L 1